พิธีกรรมประชาธิปไตย

วัฒนธรรมประชาธิปไตย

เลื่อนซ้าย-ขวา เพื่อดูแนวทางการสร้างวัฒนธรรมประชาธิปไตยเพิ่มเติม

ประชาธิปไตยกินได้: สภานักเรียนกับการพัฒนาท้องถิ่น

เลิกทำ

รวมอำนาจไว้ที่ผู้ใหญ่
ไม่เอื้อให้เยาวชนได้ลงมือทำ

ควรทำ

ผลักดันให้สภาในโรงเรียน
มีส่วนร่วมกับสภาท้องถิ่น

ครูสภา: พัฒนาพลเรียนให้เป็นพลเมือง

เลิกทำ

ครูครอบงำการทำงานสภาฯ
ละเลยหลักการประชาธิปไตย

ควรทำ

ให้อิสระในการทำงานสภาฯและเน้นส่งเสริม
วิถีพลเมืองมากกว่าสอนให้เป็นผู้นำ

ให้ความเห็นต่างเป็นความปกติของสังคม

เลิกทำ

ลดทอนความหลากหลาย ควบคุมผู้เห็นต่าง
ด้วยกฎโรงเรียน

ควรทำ

สร้างพื้นที่ของการถกเถียง
บนพื้นฐานการเคารพกัน

ต้นกล้าประชาธิปไตย เติบโตได้ด้วยการฟัง

เลิกทำ

เพิกเฉยต่อเสียงเยาวชน
คิดว่าการเรียกร้องคือปัญหา

ควรทำ

รับฟังเสียงของเยาวชน ผลักดันให้เด็กส่งเสียง
เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง

วิธีส่งเสริมประชาธิปไตย
ฉบับกระทรวงศึกษาฯ

?

ดูแนวทางตัวอย่างของกระทรวงศึกษาธิการ
อ้างอิงจากนโยบายเร่งด่วนกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หลักสูตร กิจกรรม สภาพแวดล้อม
บูรณาการวิถีประชาธิปไตยทุกรายวิชา กิจกรรมเสริมสร้างระเบียบวินัย จัดโรงเรียนให้สวยงาม ร่มรื่น
จัดทำคู่มือกิจกรรมเรียนรู้ประชาธิปไตย กิจกรรมแสดงออกความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สร้างเครือข่ายประชาธิปไตยกับโรงเรียนอื่น ๆ
เสริมวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง กิจกรรมเสนอข่าว ส่งเสริมการโต้วาทีในโรงเรียน
เสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการปกครองในห้องเรียน มีศูนย์เรียนรู้ประชาธิปไตยในโรงเรียน
เสริมวิชาลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมหน้าเสาธง มีศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมสภานักเรียน

สพฐ.แนะให้แต่ละโรงเรียน
ดำเนินงานสภานักเรียน
บน 3 หลักการ ได้แก่


คารวธรรม: การยิ้ม ไหว้ ทักทาย

สามัคคีธรรม: การร่วมมือ ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อ

ปัญญาธรรม: การใช้เหตุผลแก้ปัญหา รับฟังผู้อื่น


อ้างอิงข้อมูลจากคู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน สพฐ.
สำรวจสภาในฝันของนักเรียนไทย
84.6 73.5 56.1
48.1 30.8 30.2 27.6
25.9 25.9 22.5 10 1.5
พาน

ธรรมนูญนักเรียนเขียนกันอย่างไร

แต่ละโรงเรียนมีบริบทที่แตกต่างกัน ดังนั้นธรรมนูญควรตกลงร่วมกัน
ตามความต้องการของประชาคมในโรงเรียนนั้น ๆ โดยเนื้อหาต่อไปนี้
เป็นเพียงตัวอย่างหรือแนวทางเบื้องต้นเท่านั้น

table

หมายเหตุ: สพฐ. ไม่ได้กำหนดแนวทางของธรรมนูญโรงเรียนอย่างชัดเจน เนื่องจากแต่ละโรงเรียนมีบริบทและโครงสร้างที่แตกต่างกัน ข้อมูลดังกล่าวอ้างอิงตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ (Quick Policy)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565, คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน และการสัมภาษณ์ผู้อำนวยการสำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน

โรงเรียนตัวอย่าง
มุม

แล้วนักเรียน

พอจะทำอะไรได้บ้าง?

อ้างอิงข้อมูลจากคู่มือเอาตัวรอดในโรงเรียนของกลุ่มนักเรียนเลว, เว็บไซต์ Inskru, และการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างนักเรียน

Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1
Avatar
1

สุดท้ายนี้
โรงเรียนจะน่าอยู่มากขึ้น

หากนักเรียน ครู และทุกคน
ต่างเป็นเจ้าของโรงเรียน ‘ร่วมกัน’

เราอยากให้ ‘เจ้าของโรงเรียน’ ได้ใช้เสียง
พูดถึงภาพการศึกษาที่เธอวาดฝัน

เขียนความฝันของเธอสั้น ๆ

ผู้มีฝันเอ๋ย

เสียงของเธอช่างมีค่า
แม้การศึกษาไทยจะไม่ได้บอกเธอก็ตาม

กระดาษ

ประชาธิปไตยระดับชาติ
ล้วนเริ่มต้นจากห้องเรียนเล็ก ๆ

กล่อง

ประเทศนี้จะน่าอยู่มากขึ้น

หากประชาชนทุกคน
ต่างเป็นเจ้าของประเทศนี้ ‘ร่วมกัน’

bg
bg_end

แหล่งข้อมูล

  • การศึกษากับการพัฒนาประชาธิปไตย, นโยบายเร่งด่วนกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ 2565, กระทรวงศึกษาธิการ
  • กรมสุขภาพจิต; https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=27485
  • คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ประจำปี 2563, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน ประจำปี 2558, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปี 2558, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • คู่มือเอาตัวรอดในโรงเรียน, นักเรียนเลว
  • ไทยรัฐ; https://www.thairath.co.th/scoop/1988528
  • ธรรมนูญนักเรียนแห่งโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2566
  • (ร่าง) ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี พุทธศักราช…